A fund for injured turtles

The Veterinary Medical Aquatic animal Research Center (VMARC), Faculty of Veterinary Science Chulalongkorn University takes care of about 300-500 injured and sick turtles/soft-shell turtles each year. Biggest threats for these animals are plastics, coins, other foreign items and accident.
Duration 1 ปี Area The Veterinary Medical Aquatic animal Research Center (VMARC), Faculty of Veterinary Science Chulalongkorn University
Current donation amount
2,342,709 THBTarget
3,000,000 THBProject updates
สรุปผลการช่วยเหลือเต่าและตะพาบไทยเดือน ม.ค. - ธ.ค. ประจำปี 2563
ในปี 2563 ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ ได้รับเต่าและตะพาบไทยไม่มีเจ้าของที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุและเจ็บป่วย เข้ามารักษาในโรงพยาบาลจำนวนทั้งสิ้น 246 ตัว โดยแบ่งเป็นเต่าชนิดต่างๆ ดังตาราง
โดยจากจำนวนเต่าทั้งหมดแบ่งเป็นเต่าที่ได้รับบาดเจ็บกระดองแตกจากอุบัติเหตุรถทับจำนวน 107 ตัว เต่าที่มีอาการเจ็บป่วยอื่นจำนวน 123 ตัว และเต่าติดเบ็ดจำนวน 16 ตัว หลังจากทำการรักษาพบว่ามีเต่าที่ได้รับการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติไปแล้วจำนวนทั้งสิ้น 178 ตัว เต่าที่ยังอยู่ในการดูแลรักษาจำนวน 7 ตัว เต่าที่อยู่ระหว่างการฟื้นฟูร่างกายก่อนทำการปล่อยจำนวน 23 ตัว และเต่าที่เสียชีวิตจำนวน 38 ตัว
ภาพประกอบ
น้องเต่าที่ได้รับบาดเจ็บ กระดองแตก และกำลังทำการรักษา
ตัวอย่างภาพเอ็กซเรย์
เพิ่มยา และอาหาร ทางสายยางให้กับน้องเต่า
เต่าที่อยู่ในระหว่างการรักษา และการฟื้นฟู เพื่อปล่อยคืนสู่ธรรมชาติต่อไป
Many of the animals need surgeries which cost between 5,000 – 20,000 baht depending on their conditions. Injuries from accident (e.g. broken shell) often takes longer than other cases in the recovery phase. After the recovery, they are released to the wild – an area with as little human impact as possible. Apart from the surgery cost, there is about 500 baht expense per animal per month.
VMARC has founded an aquatic animal saving fund as a mean to raise donation for purchase of medical tools, medicines and to smoothly continue the support for animals.
Additional information
The fund will be contributed to saving lives of all types of turtles including sea turtles – this includes heavily injured turtles that are too vulnerable to be released back to the wild as well. Most of the sea turtles at VMARC are from the wild (not a pet turtle) or from illegal trade. They usually suffer from eating plastics and foreign items including coins and other indigestible litter.
Once the injured animal case is reported, VMARC specialist will provide First-Aid guidance to the reporter before admitting the animal to the center. Once arrives at the center the animal will receive a thorough check by a vet or a specialist. Some of them receive an x-ray, ultrasound, endoscopes, or CT scan as part of the diagnosis.
Turtles with injured shells usually need one month to recover. In some cases, the animal need to stay at the center for the rest of their lives due to heavy injury on their face or mouth which disable them from finding food in the nature
Team members
Assoc. Prof. Dr. Nantarika Chansue
Dr.Med.VetThanida Haetrakul
Dr.Med.Vet. Naraphat Towanabutr
Dr.Med.Vet. Patinan Rukkhachart
Dr.Med.Vet. Chairat Sumkothong
Dr.Med.Vet. Maethira Lerthiranwong
Dr.Med.Vet. Nithiwadee Kedchamrat
Dr.Med.Vet. Chayanis Daochai
Dr.Med.Vet. Thanachaporn Tantiveerakun
Dr.Med.Vet. Sirawit Srisiri
Dr.Med.Vet. Saritpakorn Samitthiwong
Miss Suppamat Sae-heng
Partner organization
Turtle & Tortoiselover Club – Thailand
ปี 61 รักษาเต่า-ตะพาบ 389 ตัว
ในปี 2561 ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ ได้รับเต่าและตะพาบไทยไม่มีเจ้าของที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุและเจ็บป่วย เข้ามารักษาในโรงพยาบาลศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวนทั้งสิ้น 389 ตัว โดยแบ่งเป็นเต่าชนิดต่างๆ แสดงดังในตาราง
ชนิดเต่า | เต่าบัว | เต่านา | เต่าหับ | เต่าดำ | เต่าเหลือง | ตะพาบ | เต่าหวาย | เต่าตนุ |
ม.ค. | 18 | 7 | 4 | 2 | - | - | 1 | - |
ก.พ. | 13 | 5 | 1 | 1 | - | - | - | - |
มี.ค. | 12 | 7 | 1 | - | - | 4 | - | - |
เม.ย. | 14 | 3 | 2 | 2 | - | - | 3 | - |
พ.ค. | 13 | 3 | 3 | 3 | - | - | - | - |
มิ.ย. | 7 | 5 | 4 | 1 | 12 | 4 | - | - |
ก.ค. | 12 | 25 | 7 | 1 | 1 | 4 | 2 | - |
ส.ค. | 17 | 8 | 7 | 2 | 8 | - | 2 | - |
ก.ย. | 12 | 16 | 2 | 4 | - | 3 | 1 | - |
ต.ค. | 17 | 7 | 2 | 2 | - | 1 | 1 | - |
พ.ย. | 15 | 8 | 6 | 6 | - | 1 | - | 1 |
ธ.ค. | 17 | 8 | 6 | 1 | - | 1 | - | - |
รวม | 153 | 102 | 45 | 24 | 21 | 14 | 2 | 1 |
จากจำนวนเต่าทั้งหมดแบ่งเป็นเต่าที่ได้รับบาดเจ็บกระดองแตกจากอุบัติเหตุรถทับจำนวน 154 ตัว เต่าที่มีอาการเจ็บป่วยอื่นๆ จำนวน 209 ตัว และเต่าติดเบ็ดจำนวน 26 ตัว หลังจากทำการรักษาพบว่ามีเต่าที่ได้รับการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติไปแล้วจำนวนทั้งสิ้น 269 ตัว เต่าที่ยังอยู่ในการดูแลรักษาจำนวน 18 ตัว เต่าที่อยู่ระหว่างการฟื้นฟูร่างกายก่อนทำการปล่อยจำนวน 35 ตัว และเต่าที่เสียชีวิตจำนวน 67 ตัว
ภาพเต่าที่ได้รับการรักษา
เต่ากระดองแตก
เต่ากระดูกขาหัก
ตะพาบรอการรักษา
หมอ ณ รักษาเต่าบาดเจ็บ
มีเต่ารอรับรักษาอยู่
เต่าตนุกลับมาว่ายน้ำได้เหมือนเดิม
มีเต่าและตะพาบที่รอรับการรักษาอยู่ มาร่วมจ่ายค่ารักษาพยาบาลเต่ากันได้ที่ https://taejai.com/th/d/saveturtle/
27 August 2019 – 98 lives have been saved
With the continuous support from the public and our dedicate team members, VMARC is able to save a total of 98 turtles during the first 6 half of the year 2019. Table below showing the numbers of different types of animals that received care at VMARC.
Month/Types of turtle | Yellow - headed Temple Turtle | Snail-eating turtles | Asian box turtle | Black marsh turtle | Soft-shell turtle | Total |
January | 14 | 10 | 2 | 2 | 1 | 29 |
February | 4 | 9 | 1 | 3 | 1 | 18 |
March | 3 | - | 6 | - | - | 9 |
April | 3 | 2 | 1 | 1 | - | 7 |
May | 1 | 3 | 2 | 14 | 3 | 23 |
June | 5 | 5 | - | 1 | 1 | 12 |
Record of illness or injuries
• Broken shell from accidents: 35 turtles
• Sickness: 55 turtles
• Injury from fishing hook: 8 turtle
Follow-up
• 38 turtles have been released back to the wild
•22 turtles are being treated
• 23 turtles are in recovery phase
• 15 deaths
Thank you so much for your helping
สรุปผลการช่วยเหลือเต่าและตะพาบไทยเดือน ม.ค. - ธ.ค. ประจำปี 2562
ในปี 2562 ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ ได้รับเต่าและตะพาบไทยไม่มีเจ้าของที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุและเจ็บป่วย เข้ามารักษาในโรงพยาบาลจำนวนทั้งสิ้น 324 ตัว โดยแบ่งเป็นเต่าชนิดต่างๆ แสดงดังในตาราง
โดยจากจำนวนเต่าทั้งหมดแบ่งเป็น
- เต่าที่ได้รับบาดเจ็บกระดองแตกจากอุบัติเหตุรถทับจำนวน 114 ตัว
- เต่าที่มีอาการเจ็บป่วยอื่นจำนวน 194 ตัว
- เต่าติดเบ็ดจำนวน 16 ตัว
หลังจากทำการรักษาพบว่า
- เต่าที่ได้รับการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติไปแล้วจำนวนทั้งสิ้น 182 ตัว
- เต่าที่ยังอยู่ในการดูแลรักษาจำนวน 36 ตัว
- เต่าที่อยู่ระหว่างการฟื้นฟูร่างกายก่อนทำการปล่อยจำนวน 51 ตัวต่าที่เสียชีวิตจำนวน 55 ตัว
ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำขอนำภาพเกี่ยวกับเต่าแต่ละชนิดมาฝากกัน
ขอบคุณค่ะ
สรุปผลการช่วยเหลือเต่าและตะพาบไทยเดือน ม.ค. - ธ.ค. ประจำปี 2563
ในปี 2563 ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ ได้รับเต่าและตะพาบไทยไม่มีเจ้าของที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุและเจ็บป่วย เข้ามารักษาในโรงพยาบาลจำนวนทั้งสิ้น 246 ตัว โดยแบ่งเป็นเต่าชนิดต่างๆ ดังตาราง
โดยจากจำนวนเต่าทั้งหมดแบ่งเป็นเต่าที่ได้รับบาดเจ็บกระดองแตกจากอุบัติเหตุรถทับจำนวน 107 ตัว เต่าที่มีอาการเจ็บป่วยอื่นจำนวน 123 ตัว และเต่าติดเบ็ดจำนวน 16 ตัว หลังจากทำการรักษาพบว่ามีเต่าที่ได้รับการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติไปแล้วจำนวนทั้งสิ้น 178 ตัว เต่าที่ยังอยู่ในการดูแลรักษาจำนวน 7 ตัว เต่าที่อยู่ระหว่างการฟื้นฟูร่างกายก่อนทำการปล่อยจำนวน 23 ตัว และเต่าที่เสียชีวิตจำนวน 38 ตัว
ภาพประกอบ
น้องเต่าที่ได้รับบาดเจ็บ กระดองแตก และกำลังทำการรักษา
ตัวอย่างภาพเอ็กซเรย์
เพิ่มยา และอาหาร ทางสายยางให้กับน้องเต่า
เต่าที่อยู่ในระหว่างการรักษา และการฟื้นฟู เพื่อปล่อยคืนสู่ธรรมชาติต่อไป
Budget plan
ค่ารักษา ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์และค่าอาหารเพื่อช่วยเหลือชีวิตเต่า ตะพาบน้ำ และเต่าทะเลของไทย | 3,000,000 บาท |
(ค่าระบบออนไลน์ ต้นทุนค่าธรรมเนียมธนาคารและ payment gateway ค่าคัดกรองโครงการ ตรวจสอบ ติดตาม วัดผล และรายงานความคืบหน้า)